ชุดที่ 2
เอกสารสำคัญว่าด้วยการศึกษา การแพทย์

และสาธารณสุข

2.1 การปฏิรูปการศึกษาในระบบโรงเรียนและการศึกษาวิชาแพทย

 

2.1.1 สำเนาเรียบเรียงที่จะจัดการโรงเรียน

ที่มา

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5 มร 5 นก/44

หน้า 646 - 664

895 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

895

896 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

896

897 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

897

898 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

898

899 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

899

900 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

900

901 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

901

902 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

902

903 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

903

904 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

904

905 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

905

906 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

906

907 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย
907

908 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

908

909 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

909

910 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

910

911 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

911

912 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

912

913 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

913

2.2 หมอวิลลิศเสนอขอสอนวิชาแพทย์แบบตะวันตก

ครั้งที่ 1

ที่มา

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5 มร 5 นก/54

หน้า 725 728

915 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

915

916 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

916

917 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

917

918 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

918

 

2.1.3 การปฏิรูปโรงเรียนของไทย ขั้นที่ 2

จัดตั้งโรงเรียนพระอารามในวัดทุกตำบลทั่วประเทศ

ที่มา

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5 มร 5 นก/75

หน้า 35 - 42

920 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

920

921 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

921

922 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

922

923 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

923

924 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

924

925 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

925

926 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

926

927 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

927

2.1.4 หมอวิลลิศเสนอขอสอนวิชาแพทย์แบบตะวันตก

ครั้งที่ 2

ที่มา

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5 มร 5 นก/77

หน้า 621 - 623

 

929 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

929

930 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

930

931 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

931

2.1.5 ตั้งโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ นอมัลสกูล

ที่มา

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5 มร 5 นก/92

หน้า 535 - 539

933 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

933

934 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

934

935 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

935

936 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

936

937 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

937

2.1.6 พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ อธิบดีกรมพยาบาล

มีพระดำริเรื่องจัดตั้งโรงเรียนแพทย์

ที่มา

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5 มร 5 นก/106

หน้า 92 - 94

939 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

940 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

941 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

2.2 รายงานประชุมกอมมิตตีจัดการโรงพยาบาล

บันทึกการประชุมกอมมิตตีจัดการโรงพยาธิบาล ครั้งที่ 1

วันที่ 30 มีนาคม พ.. 2430

รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ถนอม บรรณประเสริฐ

คัดจากต้นฉบับหนังสือกราบบังคมทูล ในสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ

เลขทะเบียนที่ มร 5 นก/82 หน้า 263 - 266

เมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.. 2461

เนื่องจากไมโครฟิล์มไม่ชัด ในขั้นตอนการบันทึกภาพ

จึงต้องขออนุญาตอ่านจากต้นฉบับ

943 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

 

April, 87 263 ร. ที่ 110 ไม่ต้องตอบ

รายงานการประชุม ครั้งที่ 1

ผู้ของ กอมมิตตี จัดการโรงพยาธิบาล เมื่อ ณ วัน 4 ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 5 ปีกุญยังเป็นอัฐศก จุลศักราช 1248 - 9 เวลาบ่าย 4 โมง จน 5 โมง 45 มินิต เลิก

ผู้ซึ่งมาประชุม

พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นศิริธัชสังกาศ 1

พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นดำรงราชานุภาพ 1

พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ 1

พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าวัฒนานุวงษ์ 1

พระวงษ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงษ์ 1

พระวงษ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์ 1

พระยาโชฎึกราชเสรฐี 1

หลวงสิทธิ์ นายเวน 1

หมอ เกาแวน 1

ข้อความซึ่งได้กล่าวในที่ประชุม

ที่ 1 กรมหมื่นดำรงราชานุภาพ เห็นสมควรที่พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นศิริธัชสังกาศ จะเป็นแชแมนของกอมมิตตี

หลวงนายสิทธิ์รับรอง ตกลงพร้อมกัน

ที่ 2 ประเทศตำบลใดสมควรจะตั้งโรงพยาธิบาลใหญ่

ตกลงพร้อมกันว่า ที่วังหลังเปนดีกว่าที่อื่น แต่ที่วังหลังอยู่ห่างตลิ่ง มีบ้านเรือนตั้งปิดหมดจะต้องจัดซื้อที่ราษฎรตามลำน้ำยาวสักเส้นหนึ่ง พอทำท่าขึ้นที่โรงพยาธิบาล แต่ข้อที่จะซื้อที่นี้ตกลงจะรอไว้กำหนดแน่ ต่อเมื่อได้เห็นแผนที่ ซึ่งพนักงานกำลังทำอยู่นั้นแล้วมา

ที่ 3 โรงพยาธิบาลที่จะตั้งขึ้นนี้ ควรรักษาให้เปนทานต่อไป ฤๅควรจะเรียกค่ารักษาพยาบาล

หมอเกาแวนเห็นว่า ควรรักษาให้เปนทานทั่วไป พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ทรงรับรอง แต่พระองค์เจ้าปฤษฎางค์ว่า คนไข้มาอยู่รักษา คงต้องกินอาหารที่โรงพยาธิบาล เพราะเหตุนั้น ถ้าคนใดภอเสียให้ได้ ควรจะเรียกบ้างตามสมควร ข้อนี้กอมมิตตีไม่เห็นด้วยหลายคน เพราะเหตุว่า ถ้าจะเลือกเรียกบ้างไม่เรียกบ้างเช่นนั้น ยากที่จะกำหนดว่าคนใดควรเสียฤาไม่ ฤๅควรเสียมากเสียน้อย ฤาไม่ต้องเสียอย่างใด คงจะเกิดความลำบากยุ่งยากเปนมั่นคง อีกประการหนึ่ง ถ้ากิตติศรับท์ปรากฏว่าโรงพยาธิบาลเรียกเงินค่ารักษาพยาบาล จะชักให้ราษฎรครั่นคร้ามแลเข้าใจผิดไป น่าที่จะไม่ใคร่มีผู้นิยมยินดี หมอเกาแวนจึ่งว่า ควรจัดเป็นการรักษาให้ทาน แต่ให้มีหีบเรี่ยรายตั้งไว้ในโรงพยาธิบาลแห่งหนึ่ง สำหรับผู้ซึ่งจะศรัทธาช่วยเหลือบ้างตามชอบใจ ไม่เป็นการ

944 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

กะเกณฑ์เลย ถ้าผู้ใดที่เขามีพอจะเสียได้บ้าง เขาก็จะเหนจะมีแก่ใจ เข้าเรี่ยรายบ้างอยู่เอง ถึงเขาจะไม่ช่วยเลย ก็ช่างเขา ไม่ควรจะให้เป็นการกะเกณฑ์เป็นอันขาด อย่างนี้ตกลงเห็นชอบพร้อมกันพระองค์เจ้าปฤษฎางค์ขอถอนคำที่กล่าวไว้ ยอมให้หมอเกาแวนเปนถูก

ที่ 4 เงินที่สำหรับจะใช้ตั้งต้นจัดการโรงพยาธิบาลจะได้มาจากไหน

กรมหมื่นดำรงราชานุภาพเหนว่า เงินสำหรับซื้อสิ่งของเพิ่มเติมในหอมิวเซียมเบิกอยู่เดือนละ 10 ชั่งเสมอ เงินรายนี้ไม่ได้จ่ายใช้ซื้อของเพิ่มเติมมิวเซียมมานานแล้ว เปนแต่เอาไปจ่ายขาดรองราชการต่าง ๆ บ้าง จ่ายขาดตัวในราชการต่าง ๆ บ้าง มีจำนวนอยู่ในบาญชีโดยเลอียด เงินซึ่งเอาไปจ่ายขาดรองราชการนั้น ก็จัดว่ามีตัวเงินอยู่ เพราะถ้าฎีกาตกเมื่อใด ก็คงจะได้ตัวเงินคืนมา คิดรวบรวมดูตัวเงินมิวเซียมที่จะมีอยู่ไม่ต่ำกว่า 100 ชั่ง ฤา150 ชั่ง แลเงินซึ่งจะเบิกเดือนละ 10 ชั่งนั้นอีก เห็นว่าควรระงับการหาของเพิ่มเติมเข้ามิวเซียมเสียสักคราวหนึ่ง

ขอรับพระราชทานยกเงินมิวเซียมซึ่งมีอยู่ 100 ชั่ง ฤา150 ชั่งนั้นไปเปนทุนลงมือสร้างโรงพยาธิบาลในคราวแรก แลเงินเดือนละ 10 ชั่งนั้น ก็ย้ายไปเปนเงินค่าใช้สอยของการโรงพยาธิบาล อย่างนี้เห็นว่าดีกว่าอย่างอื่น ที่เงินแผ่นดินก็จะยังไม่ต้องเบิกเพิ่มเติม การก็พอจะให้ทำขึ้นได้ ตกลงเหนชอบพร้อมกันอย่างนี้ แต่กลัวว่าที่จะใช้เดือนละ 10 ชั่ง ถ้ารวมทั้งเงินเดือนแลคนพยาบาลด้วยจะไม่พอ ตั้งแต่แรก ๆ ตั้งเช่นนั้น โต้ตอบกันนาน จึ่งตกลงชั้นหนึ่งว่า เมื่อโรงพยาธิบาลตั้งขึ้นเช่นนี้ ทหารซึ่งป่วยเจ็บคงจะส่งไปรักษาที่โรงพยาธิบาลทุกคน เมื่อเปนเช่นนั้น ค่ายาที่เบิกรักษาทหารอยู่ตามกรมแลเงินเดือนหมอทหาร ค่าการรักษาพยาบาลทหารต่าง ๆ คงลดลงได้ ถ้าคิดรวมจำนวนเงินที่ลดลงเหล่านี้ ไปเพิ่มที่โรงพยาธิบาลจะพอคุ้มดอกกระมัง ความข้อนี้เหนพร้อมกันว่า เงินที่จะลดได้ในกรมทหารจะประมาณว่ามากน้อยเท่าใดในเวลานี้ก็ยังไม่ได้ เมื่อประมาณยังไม่ได้ ก็จะกำหนดเงินเพิ่มทางโน้นยังไม่ได้ เพราะฉนั้น ควรเอาเปนตกลงไว้ก่อนว่าจะใช้เดือนละ 10 ชั่ง ถ้าไม่พอจึ่งจะคิดอ่านต่อไป

ที่ 5 จะควรลงมือทำโรงพยาธิบาลอย่างไรก่อน

เห็นพร้อมกันว่า ควรจะทำอย่างถูก ๆ คือ ทำเปนเรือนหลังคาจาก ฝาไม้ไผ่ สัก 2 - 3 หลัง พอจับตั้งเปนเค้าโรงพยาธิบาลไปก่อน เมื่อการเจริญขึ้น เห็นว่าจะตั้งเปนการใหญ่ได้แน่แล้วเมื่อใด จึ่งค่อยคิดอ่านทำตึกแลการอื่น ๆ เต็มที่ การปลูกสร้างที่ควรจะทำในชั้นต้นนั้น คือ รั้วรอบบริเวณอย่าง 1

โรงคนไข้ผู้ชายสำหรับไข้ติดกันได้ หลัง 1 ไข้ไม่ติดกัน หลัง 1

โรงคนไข้ผู้หญิงสำหรับไข้ติดกันได้ หลัง 1 ไข้ไม่ติดกัน หลัง 1

เรือน 2 ชั้น ๆ บนสำหรับหมออยู่ ชั้นล่างเปนที่ประสมยาแลตรวจคนไข้ หลัง 1

เรือนคนพยาบาล หลัง 1

เว็จ หลัง 1 โรงไว้ศพแลผ่าศพ หลัง 1

พระองค์เจ้าปฤษฎางค์รับคิดตัวอย่างวางแผนที่ แลประมาณราคาเรือนโรงแลการก่อสร้างนี้ให้ทันคอมมิตตีตรวจในคราวประชุมน่า

945 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

ที่ 6 คอมมิตตีจะประชุมกันเมื่อใดอีก

พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ ขอให้ประชุม วัน 6 ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีกุญยังเป็นอัฐศก เวลาบ่าย 4 โมงจริง ๆ คอมมิตตีตกลงแลยอมรับสัญญาที่จะมา 4 โมงจริง ๆ ด้วยกันทุกคน แต่พระยาโชฎึกราชเสรฐี ขอลาว่าจะออกไปราชการเมืองสมุทรสาคร จะมาประชุมในคราว วัน 6 ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 นั้นไม่ได้

หมดข้อความที่ได้ประชุมครั้งที่ 1

เลิกประชุมเวลา บ่าย 5 โมง 45 มินิต

ศิริธัชสังกาศ

ดำรงราชานุภาพ

ศรีเสาวภางค์

วัฒนานุวงษ์

สายสนิทวงษ์

ฤษฎางค์

พระยาโชฎึกราชเสรฐี

หลวงนายสิทธิ์

หมอเกาแวน

946 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

 

บันทึกการประชุมกอมมิตตีจัดการโรงพยาธิบาล

ครั้งที่ 2

วันที่ 1 เมษายน พ.. 2430

ที่มา

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5

หนังสือกราบบังคมทูล มร 5 นก/82 หน้า 349352

947 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

948 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

949 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

950 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

 

บันทึกการประชุมกอมมิตตีผู้จัดการโรงพยาธิบาล

ครั้งที่ 3

วันที่ 18 เมษายน พ.. 2430

ที่มา

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5

หนังสือกราบบังคมทูล มร 5 นก/83 หน้า 623625

952 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

953 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

954 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

 

บันทึกการประชุมกอมมิตตีโรงพยาธิบาล

ครั้งที่ 4

วันที่ 22 เมษายน พ.. 2430

ที่มา

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5

หนังสือกราบบังคมทูล มร 5 นก/83 หน้า 159 - 161

956ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

957ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

958ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

 

บันทึกการประชุมกอมมิตตีโรงพยาบาล

ครั้งที่ 5

วันที่ 4 พฤษภาคม พ.. 2430

ที่มา

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5

หนังสือกราบบังคมทูล มร 5 นก/83 หน้า 162 - 164

960ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

961ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

962ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

 

รายงานการหารือของกอมมิตตีผู้จัดการโรงพยาธิบาล

หลังการประชุมครั้งที่ 5

วันที่ 6 พฤษภาคม พ.. 2430

ที่มา

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5

หนังสือกราบบังคมทูล มร 5 นก/83 หน้า 156 - 158

964ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

965ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

966ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

 

บันทึกการประชุมกอมมิตตีโรงพยาบาล

ครั้งที่ 6

วันที่ 18 พฤษภาคม พ.. 2430

ที่มา

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5

หนังสือกราบบังคมทูล มร 5 นก/83 หน้า 316 - 318

968 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

969 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

970 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

 

บันทึกการประชุมกอมมิตตีโรงพยาบาล

ครั้งที่ 7

วันที่ 4 มิถุนายน พ.. 2430

ที่มา

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5

หนังสือกราบบังคมทูล มร 5 นก/83 หน้า 792794

972 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

973 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

974 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

 

บันทึกการประชุมกอมมิตตีโรงพยาบาล

ครั้งที่ 11

วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.. 2430

ที่มา

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5

หนังสือกราบบังคมทูล มร 5 นก/90 หน้า 593596

976 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

 977 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

978 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

979 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

 

บันทึกการประชุมกอมมิตตีโรงพยาบาล

ครั้งที่ 12

วันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.. 2431

ที่มา

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5

หนังสือกราบบังคมทูล มร 5 นก/90 หน้า 583585

981 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

982 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

983 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

 

บันทึกการประชุมกอมมิตตีโรงพยาบาล

ครั้งที่ 13

วันที่ 21 พฤศจิกายน พ.. 2431

ที่มา

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารรัชกาลที่ 5

หนังสือกราบบังคมทูล มร 5 นก/98 หน้า 38 40

985 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

986 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย

987 ประวัติศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุขไทย